2. ประกอบ Bluetooth HC-06
ใช้ จั้มเปอร์ ผู้-เมีย เชื่อมต่อ Bluetooth HC-06 เข้ากับ L298P ตามรูปด้านล่าง
HC-06 <-> L298P
VCC <-> 5V
GND <-> Gnd
TXD <-> RX(0)
RXD <-> TX(1)
3. การอัพโหลดโปรแกรม
ก่อน Upload ให้ถอดการเชื่อมต่อสาย TX และ RX ออกจาก L298P (ถ้าไม่ถอดออก อาจมีปัญหาในการ Upload)
ใช้สาย USB เชื่อมต่อระหว่าง คอมพิวเตอร์ กับ Arduino UNO R3
เปิดโปรแกรม Arduino (IDE) และ Upload โค้ดนี้ ไปยัง บอร์ด Arduino UNO R3
/*
Bluetooth Robot with Arduino UNO + L298P
For more details visit:
https://robotsiam.blogspot.com/2017/12/uno-l298p-bluetooth.html
*/
#include <SoftwareSerial.h>
int incomingByte = 0;
/*-------definning Outputs------*/
int MA1 = 12; // Motor A1
int MA2 = 3; // Motor A2
int PWM_A = 10; // Speed Motor A
int MB1 = 13; // Motor B1
int MB2 = 8; // Motor B2
int PWM_B = 11; // Speed Motor B
int SPEED = 200; // Speed PWM สามารถปรับความเร็วได้ถึง 0 - 255
void setup() {
//Setup Channel A
pinMode(12, OUTPUT); //Motor A1
pinMode(3, OUTPUT); //Motor A2
pinMode(10, OUTPUT); //Speed PWM Motor A
//Setup Channel B
pinMode(13, OUTPUT); //Motor B1
pinMode(8, OUTPUT); //Motor B2
pinMode(11, OUTPUT); //Speed PWM Motor B
Serial.begin(9600);
Serial.println("Motor Ready");
}
void loop() {
if (Serial.available() > 0) {
incomingByte = Serial.read();
}
switch (incomingByte)
{
case 'S':
// stop all motors
{
Stop(1);
Serial.println("Stop\n");
incomingByte = '*';
}
break;
case 'F':
// turn it on going forward
{
Forward(1);
Serial.println("Forward\n");
incomingByte = '*';
}
break;
case 'B':
// turn it on going backward
{
Backward(1);
Serial.println("Backward\n");
incomingByte = '*';
}
break;
case 'R':
// turn right
{
turnRight(1);
Serial.println("Rotate Right\n");
incomingByte = '*';
}
break;
case 'L':
// turn left
{
turnLeft(1);
Serial.println("Rotate Left\n");
incomingByte = '*';
}
break;
}
}
void Forward(int time)
{
digitalWrite(MA1, LOW);
digitalWrite(MA2, HIGH);
analogWrite(PWM_A, SPEED);
digitalWrite(MB1, HIGH);
digitalWrite(MB2, LOW);
analogWrite(PWM_B, SPEED);
delay(time);
}
void Backward(int time)
{
digitalWrite(MA1, HIGH);
digitalWrite(MA2, LOW);
analogWrite(PWM_A, SPEED);
digitalWrite(MB1, LOW);
digitalWrite(MB2, HIGH);
analogWrite(PWM_B, SPEED);
delay(time);
}
void turnLeft(int time)
{
digitalWrite(MA1, HIGH);
digitalWrite(MA2, LOW);
analogWrite(PWM_A, SPEED);
digitalWrite(MB1, LOW);
digitalWrite(MB2, LOW);
analogWrite(PWM_B, 0);
delay(time);
}
void turnRight(int time)
{
digitalWrite(MA1, LOW);
digitalWrite(MA2, LOW);
analogWrite(PWM_A, 0);
digitalWrite(MB1, LOW);
digitalWrite(MB2, HIGH);
analogWrite(PWM_B, SPEED);
delay(time);
}
void Stop(int time)
{
digitalWrite(MA1, LOW);
digitalWrite(MA2, LOW);
analogWrite(PWM_A, 0);
digitalWrite(MB1, LOW);
digitalWrite(MB2, LOW);
analogWrite(PWM_B, 0);
delay(time);
}
ไปที่ Tools > Board เลือกเป็น Arduino/Genuino UNO
ไปที่ Tools > Port แล้วเลือกพอร์ตที่ปรากฏ (กรณีใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มี COM Port มากกว่าหนึ่ง ให้เลือกตัวอื่นที่ไม่ใช่ COM1) ในตัวอย่างเลือกเป็น "COM14" (ถ้ายังว่าง หรือ เป็น COM1 ให้ตรวจสอบการติดตั้งไดร์เวอร์ การต่อสาย USB ของ Arduino UNO)
กดปุ่ม
เพื่ออัพโหลด
หากสามารถอัพโหลดโปรแกรมลงบอร์ดได้สำเร็จ จะแสดงคำว่า Done uploading. ที่แถบด้านล่าง
หลังจากนั้นจึงเชื่อมต่อสาย TX และ RX เข้ากับ L298P ดังเดิม
เปิด เพาเวอร์สวิตซ์ จ่ายไฟให้กับหุ่นยนต์
ใช้ สมาร์ทโฟน Android เปิดการเชื่อมต่อ บลูทูธ และ เชื่อมต่อกับ HC-06
ใส่รหัสผ่าน 1234 -> ตกลง
ใช้สมาร์ทโฟน Android ไปที่ Play Store
ค้นหา arduino bluetooth rc car เลือกแอพ ซ้ายมือด้านบนสุด ตามรูป
การติดตั้ง..เหมือนแอพทั่วๆไป
เมื่อเปิดขึ้นมา รูปวงกลมซ้ายมือ จะเป็นสีแดง
คลิกที่ ไอคอนเฟือง ขวามือสุด แล้ว เลือก Connect to car
เลือก HC-06 (ถ้าถามหา พาสเวิร์ด ให้คีย์ 1234)
สังเกตุ รูปวงกลมซ้ายมือเป็นสีเขียวแสดงว่า โปรแกรมสามารถใช้งานได้แล้ว
5. ทดสอบการทำงาน
ใสถ่าน แบบ 18650 แรงดันไฟเฉลี่ย 3.7V (3400 mAh) จำนวน 2 ก้อน และ เปิด เพาเวอร์สวิตซ์ จ่ายไฟให้กับหุ่นยนต์ เปิดแอพ Bluetooth RC Controller ทำตามขั้นตอนที่ 4 ให้ รูปวงกลมซ้ายมือเป็นสีเขียว

และสังเกต ไฟ LED สีแดง ของ Bluetooth HC-06 ที่กระพริบอยู่ จะ ติดค้างเป็นสีแดงตลอด แสดงว่าหุ่นยนต์พร้อมทำงานแล้วจึงทดลองควบคุมหุ่นยนต์
วีดีโอผลลัพธ์ โปรเจคหุ่นยนต์ UNO + L298P บังคับด้วย Bluetooth